เกี่ยวกับเรา

ประวัติสำนักงาน

ประวัติสำนักงาน

ประวัติการก่อตั้ง

previous arrow
Slide
รัฐบาล ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร แล้วนำเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภา
วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้เห็นชอบให้เพิ่มเติม “สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” เป็นหน่วยงานใหม่ระดับกรมในกระทรวงวัฒนธรรม ตามที น.พ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้เสนอ
Slide
วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๕ มูลนิธิศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดย นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครราชสีมา ประธานคณะกรรมาธิการกิจการรัฐสภา ได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งสำนักงานคณะ กรรมการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีผู้เข้าประชุมประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภา ศิลปิน นักวิชาการ ผู้บริหารระดับสูงในการดำเนินงานวัฒนธรรม และผู้สนับสนุนจำนวนมาก ทุกคนมีความคิดตรงกันว่าสมควรก่อตั้งกรมนี้ และยินดีให้การสนับสนุน

วัน ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญวุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาและมีมติเห็นชอบให้เพิ่ม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๕ ที่ประชุมวุฒิสภาได้พิจารณา ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พศ…และมีมติเห็นชอบมาตรา ๓๙ (๖) สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีมติเห็นชอบ ด้วยคะแนนออกเสียง ๗๙ ต่อ ๓๕
วัน ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕ ประกาศใช้พระราชญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กำหนดให้มีส่วนราชการ ๒๐ กระทรวง และมีสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เป็นส่วนราชการมีฐานะเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วัน ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ นางอุไรวรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ลงนามประกาศใช้ใช้กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕
next arrow
Slide
รัฐบาล ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร แล้วนำเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภา
Slide
วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้เห็นชอบให้เพิ่มเติม “สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” เป็นหน่วยงานใหม่ระดับกรมในกระทรวงวัฒนธรรม ตามที น.พ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้เสนอ
Slide
วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๕ มูลนิธิศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดย นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครราชสีมา ประธานคณะกรรมาธิการกิจการรัฐสภา ได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งสำนักงานคณะ กรรมการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีผู้เข้าประชุมประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภา ศิลปิน นักวิชาการ ผู้บริหารระดับสูงในการดำเนินงานวัฒนธรรม และผู้สนับสนุนจำนวนมาก ทุกคนมีความคิดตรงกันว่าสมควรก่อตั้งกรมนี้ และยินดีให้การสนับสนุน
Slide
วัน ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญวุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาและมีมติเห็นชอบให้เพิ่ม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๕ ที่ประชุมวุฒิสภาได้พิจารณา ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พศ…และมีมติเห็นชอบมาตรา ๓๙ (๖) สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีมติเห็นชอบ ด้วยคะแนนออกเสียง ๗๙ ต่อ ๓๕
Slide
วัน ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕ ประกาศใช้พระราชญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กำหนดให้มีส่วนราชการ ๒๐ กระทรวง และมีสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เป็นส่วนราชการมีฐานะเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วัน ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ นางอุไรวรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ลงนามประกาศใช้ใช้กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕
Slide
รัฐบาล ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร แล้วนำเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภา
Slide
วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้เห็นชอบให้เพิ่มเติม “สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” เป็นหน่วยงานใหม่ระดับกรมในกระทรวงวัฒนธรรม ตามที น.พ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้เสนอ

ความจำเป็นในการจัดตั้งสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

1. องค์ประกอบที่สำคัญขั้นพื้นฐานอันนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์ของมนุษย์คือ ศิลปะแห่งการดำเนินชีวิต ศิลปะนำไปสู่การพัฒนาภูมิปัญญา การเรียนรู้ การสร้างสรรค์ใหม่ ๆ การยกระดับจิตวิญญาณให้มีความละเอียดอ่อนไปสู่ความเป็นอิสระทางปัญญา อันเป็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ทั้งในโลกปัจจุบันและอนาคต ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิตของคน เพราะคนจะต้องพัฒนาปรับตัวในการใช้ศิลปะการดำรงชีวิตในโลกยุคปัจจุบัน เพื่อก้าวไปสู่โลกโลกยุคใหม่ที่มีพลวัตตลอดเวลา

2. ศิลปะ วัฒนธรรมร่วมสมัยจะเป็นส่วนที่เติมเต็มให้การดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมของ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีความเด่นชัด ครอบคลุมครบทุกด้านอย่างเป็นเอกภาพ

3. ศิลปะ วัฒนธรรมร่วมสมัยในปัจจุบันควรได้รับการดูแล ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอยู่เสมอ ต่อเนื่องต่อไปอย่างไม่ขาดตอน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

3.1 เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาทางศิลปวัฒนธรรม จากอดีตสู่ปัจจุบัน

3.2 เพื่อสร้างสรรค์ สะสม และสร้างต้นทุนใหม่ทางวัฒนธรรม ให้แก่สังคม

3.3 เพื่อพัฒนาให้เกิดคุณประโยชน์ต่อชาติในด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและศิลปการบันเทิง

3.4 เพื่อให้รู้เท่าทันและก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ทางด้านศิลปวัฒนธรรม

อำนาจหน้าที่ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

อำนาจหน้าที่
ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

สํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย มีภารกิจเกี่ยวกับ
การดําเนินการส่งเสริม สนับสนุน   และเผยแพร่ กิจการสร้างสรรค์
ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เพื่อเพิ่มพูนพัฒนาภูมิปัญญา
และการประยุกต์ใช้
ในสังคม โดยให้มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีหอศิลป์เพื่อเผยแพร่งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ประสานงานเครือข่ายองค์กรศิลปวัฒนธรรม ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ

จัดให้มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ สติปัญญา และการประยุกต์ใช้งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ระดมทรัพยากรและจัดให้มีกองทุนหรือแหล่งทุนด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

จัดทําข้อเสนอเชิงนโยบาย แผนงาน และยุทธศาสตร์ในการดําเนินงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ส่งเสริม สนับสนุน และเผยแพร่กิจกรรมสร้างสรรค์งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของสํานักงาน หรือตามที่
รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ประวัติสำนักงาน

ประวัติการก่อตั้ง

previous arrow
Slide
รัฐบาล ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร แล้วนำเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภา
วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้เห็นชอบให้เพิ่มเติม “สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” เป็นหน่วยงานใหม่ระดับกรมในกระทรวงวัฒนธรรม ตามที น.พ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้เสนอ
Slide
วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๕ มูลนิธิศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดย นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครราชสีมา ประธานคณะกรรมาธิการกิจการรัฐสภา ได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งสำนักงานคณะ กรรมการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีผู้เข้าประชุมประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภา ศิลปิน นักวิชาการ ผู้บริหารระดับสูงในการดำเนินงานวัฒนธรรม และผู้สนับสนุนจำนวนมาก ทุกคนมีความคิดตรงกันว่าสมควรก่อตั้งกรมนี้ และยินดีให้การสนับสนุน

วัน ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญวุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาและมีมติเห็นชอบให้เพิ่ม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๕ ที่ประชุมวุฒิสภาได้พิจารณา ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พศ…และมีมติเห็นชอบมาตรา ๓๙ (๖) สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีมติเห็นชอบ ด้วยคะแนนออกเสียง ๗๙ ต่อ ๓๕
วัน ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕ ประกาศใช้พระราชญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กำหนดให้มีส่วนราชการ ๒๐ กระทรวง และมีสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เป็นส่วนราชการมีฐานะเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วัน ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ นางอุไรวรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ลงนามประกาศใช้ใช้กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕
next arrow
Slide
รัฐบาล ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร แล้วนำเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภา
Slide
วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้เห็นชอบให้เพิ่มเติม “สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” เป็นหน่วยงานใหม่ระดับกรมในกระทรวงวัฒนธรรม ตามที น.พ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้เสนอ
Slide
วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๕ มูลนิธิศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดย นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครราชสีมา ประธานคณะกรรมาธิการกิจการรัฐสภา ได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งสำนักงานคณะ กรรมการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีผู้เข้าประชุมประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภา ศิลปิน นักวิชาการ ผู้บริหารระดับสูงในการดำเนินงานวัฒนธรรม และผู้สนับสนุนจำนวนมาก ทุกคนมีความคิดตรงกันว่าสมควรก่อตั้งกรมนี้ และยินดีให้การสนับสนุน
Slide
วัน ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญวุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาและมีมติเห็นชอบให้เพิ่ม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๕ ที่ประชุมวุฒิสภาได้พิจารณา ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พศ…และมีมติเห็นชอบมาตรา ๓๙ (๖) สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีมติเห็นชอบ ด้วยคะแนนออกเสียง ๗๙ ต่อ ๓๕
Slide
วัน ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕ ประกาศใช้พระราชญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กำหนดให้มีส่วนราชการ ๒๐ กระทรวง และมีสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เป็นส่วนราชการมีฐานะเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงวัฒนธรรม
Slide
วัน ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ นางอุไรวรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ลงนามประกาศใช้ใช้กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕
Slide
รัฐบาล ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร แล้วนำเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภา
Slide
วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้เห็นชอบให้เพิ่มเติม “สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” เป็นหน่วยงานใหม่ระดับกรมในกระทรวงวัฒนธรรม ตามที น.พ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้เสนอ

ความจำเป็นในการจัดตั้งสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

1. องค์ประกอบที่สำคัญขั้นพื้นฐานอันนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์ของมนุษย์คือ ศิลปะแห่งการดำเนินชีวิต ศิลปะนำไปสู่การพัฒนาภูมิปัญญา การเรียนรู้ การสร้างสรรค์ใหม่ ๆ การยกระดับจิตวิญญาณให้มีความละเอียดอ่อนไปสู่ความเป็นอิสระทางปัญญา อันเป็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ทั้งในโลกปัจจุบันและอนาคต ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิตของคน เพราะคนจะต้องพัฒนาปรับตัวในการใช้ศิลปะการดำรงชีวิตในโลกยุคปัจจุบัน เพื่อก้าวไปสู่โลกโลกยุคใหม่ที่มีพลวัตตลอดเวลา

2. ศิลปะ วัฒนธรรมร่วมสมัยจะเป็นส่วนที่เติมเต็มให้การดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมของ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีความเด่นชัด ครอบคลุมครบทุกด้านอย่างเป็นเอกภาพ

3. ศิลปะ วัฒนธรรมร่วมสมัยในปัจจุบันควรได้รับการดูแล ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอยู่เสมอ ต่อเนื่องต่อไปอย่างไม่ขาดตอน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

3.1 เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาทางศิลปวัฒนธรรม จากอดีตสู่ปัจจุบัน

3.2 เพื่อสร้างสรรค์ สะสม และสร้างต้นทุนใหม่ทางวัฒนธรรม ให้แก่สังคม

3.3 เพื่อพัฒนาให้เกิดคุณประโยชน์ต่อชาติในด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและศิลปการบันเทิง

3.4 เพื่อให้รู้เท่าทันและก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ทางด้านศิลปวัฒนธรรม

อำนาจหน้าที่ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

อำนาจหน้าที่
ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

สํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย มีภารกิจเกี่ยวกับ
การดําเนินการส่งเสริม สนับสนุน   และเผยแพร่ กิจการสร้างสรรค์
ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เพื่อเพิ่มพูนพัฒนาภูมิปัญญา
และการประยุกต์ใช้
ในสังคม โดยให้มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีหอศิลป์เพื่อเผยแพร่งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ประสานงานเครือข่ายองค์กรศิลปวัฒนธรรม ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ

จัดให้มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ สติปัญญา และการประยุกต์ใช้งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ระดมทรัพยากรและจัดให้มีกองทุนหรือแหล่งทุนด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

จัดทําข้อเสนอเชิงนโยบาย แผนงาน และยุทธศาสตร์ในการดําเนินงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ส่งเสริม สนับสนุน และเผยแพร่กิจกรรมสร้างสรรค์งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของสํานักงาน หรือตามที่
รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย